ครูในดวงใจ
ประวัติ
ชื่อ : ครู วาริณี พรมศรี
ชื่อ : ครู วาริณี พรมศรี
วิทยาลัย : มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก ปีที่จบ 2003 · กศ.ม. คณิตศาสตร์ · Phitsanulok ปริญญาโท
โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย : จักรคำคณาทร ลำพูน ปีที่จบ 1993 · Lamphun ม.4-6โรงเรียนส่วนบุญโญปถัมภ์ ลำพูนLamphunม.1/3
ปรัชญา : คิดดี ทำดี แล้วจะได้ดี
บุคคลที่เป็นแรงบันดาลใจของครู วาริณี : คนที่เรารักและคนที่รักเรา
กีฬาที่ชื่นชอบ : แบตมินตัน
ศิลปะและความบันเทิง : แพ้ใจ ใหม่ เจริญปุระ
ดนตรี : รักไม่เคยเปลี่ยนแปลง
ภาพยนตร์ : กวน มึน โฮ ,สิ่งเล็กๆที่เรียกว่ารัก
กิจกรรมและความสนใจ : อ่านหนังสือ ดูหนัง ฟังเพลง เที่ยว
คนธรรมดาคนหนึ่งแต่ทำอะไรทำจริง อดทน ไม่คาดหวัง ใช้ชีวิตในทุกๆวันอย่างมีความสุข ตั้งใจ สนุกสนานในการทำงาน และมีอะไรพิเศษสำหรับครอบครัว แค่นี้ก็ภูมิใจแล้ว
โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย : จักรคำคณาทร ลำพูน ปีที่จบ 1993 · Lamphun ม.4-6โรงเรียนส่วนบุญโญปถัมภ์ ลำพูนLamphunม.1/3
ปรัชญา : คิดดี ทำดี แล้วจะได้ดี
บุคคลที่เป็นแรงบันดาลใจของครู วาริณี : คนที่เรารักและคนที่รักเรา
กีฬาที่ชื่นชอบ : แบตมินตัน
ศิลปะและความบันเทิง : แพ้ใจ ใหม่ เจริญปุระ
ดนตรี : รักไม่เคยเปลี่ยนแปลง
ภาพยนตร์ : กวน มึน โฮ ,สิ่งเล็กๆที่เรียกว่ารัก
กิจกรรมและความสนใจ : อ่านหนังสือ ดูหนัง ฟังเพลง เที่ยว
คนธรรมดาคนหนึ่งแต่ทำอะไรทำจริง อดทน ไม่คาดหวัง ใช้ชีวิตในทุกๆวันอย่างมีความสุข ตั้งใจ สนุกสนานในการทำงาน และมีอะไรพิเศษสำหรับครอบครัว แค่นี้ก็ภูมิใจแล้ว
ตำแหน่ง : ครูชำนาญการ
สถานที่ทำงาน : โรงเรียนส่วนบุญโญปถัมภ์ ลำพูน
ข้อมูลด้านการศึกษา
ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาคณิตศาสตร์ (คบ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
ระดับปริญญาโท สาขาวิชาคณิตศาสตร์ (กศ.ม.) มหาวิทยาลัยนเรศวร จ.พิษณุโลก
ผลงานดีเด่น
ครูแกนนำสาขาคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2545
ครูต้นแบบสาขาคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
ครูดีในดวงใจระดับโรงเรียน ปีการศึกษา 2550
ครูที่ปรีกษาดีเด่นในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปีการศึกษา 2545
รางวัลหนึ่งแสนครูดี ของคุรุสภา ปีการศึกษา 2554
สิ่งที่ดีของครูที่นำมาประยุกต์ใช้ได้
จากการที่ได้ศึกษาประวัติและผลงาน ของครูวาริณีพรมศรี แล้วประทับใจมากเพราะทั้งระบบการสอนของครูนั้นบอกได้เลยว่าไม่ธรรมดาเลย เพราะครูวาริณีบอกว่าการเป็นครูคณิตศาสตร์ตามหลักสูตรคณิตศาสตร์แนวใหม่ครูผู้สอนไม่ควรทิ้งการปูพื้นฐาน การเข้าใจที่มา เน้นการคิด
เชิงวิเคราะห์พร้อมทั้งควรสร้างโจทย์ปัญหาและแนวข้อสอบที่หลากหลาย โดยครูที่มีคุณภาพในการ
สอน ควรสอนอย่างจริงจัง ควรสอนที่ใช้สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้จากแหล่งต่าง ๆ มากมาย ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนได้เข้าใจและเห็นภาพชัดเจน พร้อมควรเสริมด้วยเทคนิคคิดเลขเร็ว โจทย์ปัญหาที่ท้าทายความคิด ปรับเนื้อหาเข้ากับระดับความสามารถของนักเรียนแต่ละกลุ่มในช่วงชั้นที่ทำการสอน มีการทดสอบวัดระดับและติดตามผลการเรียนอย่างต่อเนื่อง การจัดการเรียนรู้ในบรรยากาศ
สนุกสนาน เอื้อให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มความมั่นใจในการเรียนเพื่อผลการเรียนที่ดีขึ้นวิธีที่สามารถนำเป็นแนวทางได้คือ
การปลดล็อคการสอนคิดคณิตศาสตร์
ในการสอนคิดคณิตศาสตร์ เป็นกระบวนการคิดที่ครูผู้สอนนำขั้นตอนกระบวนการคิดเพื่อ
แก้ปัญหานำมาใช้อย่างรู้ตัว โดยอาจดำเนินไปเป็นขั้นตอนของกระบวนการคิด เพื่อใช้ในการสอนคิดคณิตศาสตร์ มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 การปลดล็อคทางความคิด เป็นขั้นตอนให้ครูผู้สอนได้ปลดล็อคความคิดเก่าเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ โดยคำนึงถึงเทคนิคและกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
ขั้นที่ 2 การนำความคิดเข้าสู่ปัญหา เป็นการศึกษาของสภาพปัญหาว่าเป็นอย่างไร ปัญหาเกิดจากอะไรบ้าง ซึ่งเป็นการค้นพบปัญหาที่อาจจะเป็นไปได้ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้
ขั้นที่ 3 การนำความคิดเพื่อวิเคราะห์ปัญหา เป็นการศึกษา วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์
ให้รู้ว่าปํญหาที่แท้จริงคืออะไรแน่ และอะไรบ้างที่ไม่ใช่ปัญหาที่แท้จริง
ขั้นที่ 4 การนำความคิดเพื่อระบุปัญหา เป็นการนำเอาปัญหาที่เป็นสาเหตุที่แท้จริงมาเป็นประเด็นสำคัญในการศึกษา รวบรวมข้อมูลสำหรับแต่ละเรื่อง
ขั้นที่ 5 การนำความคิดเพื่อกำหนดวัตถุประสงค์ เป็นการกำหนดเป้าหมายเพื่อการแก้ปัญหานั้นๆ ว่าจะให้ผลสัมฤทธิ์ทางด้านใด เป็นปริมาณมากน้อยเพียงใด มีคุณค่าสูงต่ำเพียงใด
ขั้นที่ 6 การนำความคิดเพื่อตั้งสมมติฐาน เป็นการเสนอแนวทางและวิธีการในการแก้ปัญหาให้ตรงกับสาเหตุของปัญหาที่อาจจะนำให้สามารถแก้ปัญหานั้นได้สำเร็จ
ขั้นที่ 7 การนำความคิดเพื่อทดลองหรือทดสอบสมมติฐาน เป็นการนำวิจัยแก้ปัญหาในขั้นตั้งสมมติฐานไปใช้ในการแก้ปัญหา
ขั้นที่ 8 การนำความคิดเพื่อสรุปผลและรายงานผล เป็นการสรุปผลและรายงานผลในการสอนคิดคณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการคิดในการแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 9 การนำความคิดเพื่อการนำไปใช้ เป็นการนำความคิดเพื่อการนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
สถานที่ทำงาน : โรงเรียนส่วนบุญโญปถัมภ์ ลำพูน
ข้อมูลด้านการศึกษา
ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาคณิตศาสตร์ (คบ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
ระดับปริญญาโท สาขาวิชาคณิตศาสตร์ (กศ.ม.) มหาวิทยาลัยนเรศวร จ.พิษณุโลก
ผลงานดีเด่น
ครูแกนนำสาขาคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2545
ครูต้นแบบสาขาคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
ครูดีในดวงใจระดับโรงเรียน ปีการศึกษา 2550
ครูที่ปรีกษาดีเด่นในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปีการศึกษา 2545
รางวัลหนึ่งแสนครูดี ของคุรุสภา ปีการศึกษา 2554
สิ่งที่ดีของครูที่นำมาประยุกต์ใช้ได้
จากการที่ได้ศึกษาประวัติและผลงาน ของครูวาริณีพรมศรี แล้วประทับใจมากเพราะทั้งระบบการสอนของครูนั้นบอกได้เลยว่าไม่ธรรมดาเลย เพราะครูวาริณีบอกว่าการเป็นครูคณิตศาสตร์ตามหลักสูตรคณิตศาสตร์แนวใหม่ครูผู้สอนไม่ควรทิ้งการปูพื้นฐาน การเข้าใจที่มา เน้นการคิด
เชิงวิเคราะห์พร้อมทั้งควรสร้างโจทย์ปัญหาและแนวข้อสอบที่หลากหลาย โดยครูที่มีคุณภาพในการ
สอน ควรสอนอย่างจริงจัง ควรสอนที่ใช้สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้จากแหล่งต่าง ๆ มากมาย ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนได้เข้าใจและเห็นภาพชัดเจน พร้อมควรเสริมด้วยเทคนิคคิดเลขเร็ว โจทย์ปัญหาที่ท้าทายความคิด ปรับเนื้อหาเข้ากับระดับความสามารถของนักเรียนแต่ละกลุ่มในช่วงชั้นที่ทำการสอน มีการทดสอบวัดระดับและติดตามผลการเรียนอย่างต่อเนื่อง การจัดการเรียนรู้ในบรรยากาศ
สนุกสนาน เอื้อให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มความมั่นใจในการเรียนเพื่อผลการเรียนที่ดีขึ้นวิธีที่สามารถนำเป็นแนวทางได้คือ
การปลดล็อคการสอนคิดคณิตศาสตร์
ในการสอนคิดคณิตศาสตร์ เป็นกระบวนการคิดที่ครูผู้สอนนำขั้นตอนกระบวนการคิดเพื่อ
แก้ปัญหานำมาใช้อย่างรู้ตัว โดยอาจดำเนินไปเป็นขั้นตอนของกระบวนการคิด เพื่อใช้ในการสอนคิดคณิตศาสตร์ มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 การปลดล็อคทางความคิด เป็นขั้นตอนให้ครูผู้สอนได้ปลดล็อคความคิดเก่าเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ โดยคำนึงถึงเทคนิคและกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
ขั้นที่ 2 การนำความคิดเข้าสู่ปัญหา เป็นการศึกษาของสภาพปัญหาว่าเป็นอย่างไร ปัญหาเกิดจากอะไรบ้าง ซึ่งเป็นการค้นพบปัญหาที่อาจจะเป็นไปได้ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้
ขั้นที่ 3 การนำความคิดเพื่อวิเคราะห์ปัญหา เป็นการศึกษา วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์
ให้รู้ว่าปํญหาที่แท้จริงคืออะไรแน่ และอะไรบ้างที่ไม่ใช่ปัญหาที่แท้จริง
ขั้นที่ 4 การนำความคิดเพื่อระบุปัญหา เป็นการนำเอาปัญหาที่เป็นสาเหตุที่แท้จริงมาเป็นประเด็นสำคัญในการศึกษา รวบรวมข้อมูลสำหรับแต่ละเรื่อง
ขั้นที่ 5 การนำความคิดเพื่อกำหนดวัตถุประสงค์ เป็นการกำหนดเป้าหมายเพื่อการแก้ปัญหานั้นๆ ว่าจะให้ผลสัมฤทธิ์ทางด้านใด เป็นปริมาณมากน้อยเพียงใด มีคุณค่าสูงต่ำเพียงใด
ขั้นที่ 6 การนำความคิดเพื่อตั้งสมมติฐาน เป็นการเสนอแนวทางและวิธีการในการแก้ปัญหาให้ตรงกับสาเหตุของปัญหาที่อาจจะนำให้สามารถแก้ปัญหานั้นได้สำเร็จ
ขั้นที่ 7 การนำความคิดเพื่อทดลองหรือทดสอบสมมติฐาน เป็นการนำวิจัยแก้ปัญหาในขั้นตั้งสมมติฐานไปใช้ในการแก้ปัญหา
ขั้นที่ 8 การนำความคิดเพื่อสรุปผลและรายงานผล เป็นการสรุปผลและรายงานผลในการสอนคิดคณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการคิดในการแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 9 การนำความคิดเพื่อการนำไปใช้ เป็นการนำความคิดเพื่อการนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น